ว22101 วิทยาศาสตร์ 3
- คำอธิบายรายวิชา
- เนื้อหา
- ความคิดเห็น
อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้แบบจำลอง กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด โดยใช้แบบจำลอง ผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว การตกไข่ การมีประจำเดือนการปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเป็นทารก การแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัดด้วยตัวทำละลาย โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ บรรยายโครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจหลอดเลือด และเลือด อวัยวะในระบบ ขับถ่ายในการกำจัดของเสียทางไต อวัยวะ อวัยวะในระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของร่างกาย อวัยวะ อวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศชายและเพศหญิงโดยใช้แบบจำลอง ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องในระบบหายใจ อวัยวะ ปริมาณตัวละลายในสารละลาย ในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร ตระหนักถึงความสำคัญของระบบหายใจ ระบบขับถ่ายในการกำจัดของเสียทางไต ระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาทให้ทำงานเป็นปกติ รวมถึงการป้องกันการกระทบกระเทือนและอันตรายต่อสมองและไขสันหลัง การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว โดยการดูแลรักษาร่างกายและจิตใจของตนเองในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โดยการประพฤติตนให้เหมาะสม เลือกวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่กำหนด นำวิธีการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันโดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ การนำความรู้เรื่องความเข้มข้นของสารไปใช้ โดยยกตัวอย่างการใช้สารละลายในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องและปลอดภัย แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโท- กราฟีแบบกระดาษ การสกัดด้วยตัวทำละลาย ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจ ขณะปกติ การอธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทำละลาย อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร รวมทั้งอธิบายผลของความดันที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใช้สารสนเทศและหลังทำกิจกรรม
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถ ในการตัดสินใจ ฝึกฝนและพัฒนาให้เกิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การทำงานร่วมกัน นำไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรม ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และนำความรู้ไปใช้ในศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนและในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายในศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนและใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
-
11.1 โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบหายใจ2
-
21.2 ความจุอากาศของปอดและการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจ2
-
31.3 โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบขับถ่าย2
-
41.4 ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบหมุนเวียนเลือด2
-
51.5 การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด2
-
61.6 วัคซีนและซีรัม1
-
71.7 ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท2
-
81.8 โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์2
-
91.9 การมีประจำเดือน การปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกต2
-
101.10 การเกิดแฝด1
-
111.11 การคุมกำเนิด2
-
203.1 องค์ประกอบของสารละลาย2
-
213.2 สภาพละลายได้ของสาร1
-
223.3 ปัจจัยที่มีผลต่อสภาพละลายได้ของสาร ตอนที่ 12
-
233.4 ปัจจัยที่มีผลต่อสภาพละลายได้ของสาร ตอนที่ 22
-
243.5 ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละ ตอนที่ 12
-
253.6 ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละ ตอนที่ 22
-
263.7 ตัวอย่างการหาความเข้มข้นของสารละลายและการใช้สารละลายในชีวิตประจำวัน3
